NDLP Digital Platform development seminar
การสัมมนา แนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาดิจิทัลแพลตฟอร์ม เพื่อการเรียนรู้แห่งชาติ Views: 11
การสัมมนา แนวทางการขับเคลื่อนการพัฒนาดิจิทัลแพลตฟอร์ม เพื่อการเรียนรู้แห่งชาติ Views: 11
Richard Hay | Oct 20, 2021 Low-code/no-code แพลตฟอร์ม เป็นเครื่องมือแบบกราฟฟิก ใช้กันมากโดยผู้ใช้แนวนักธุรกิจและนักพัฒนาแอพพลิเคชั่น เพื่อสร้างแอพพลิเคชั่นและระบบงานอัตโนมัติโดยอาศัยการลากวาง ๆ เจ้าตัวฟังก์ชั่นต่างๆ โดยใช้ความรู้เรื่องภาษาการเขียนโค้ดเพียงเล็กน้อย หรือไม่ต้องใช้เลยก็สามารถทำการสร้างแอพฯ ได้ Low-code/no-code แพลตฟอร์ม จะปรับตัวเข้ากับระบบบริการคลาวด์หรือผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ก่อนแล้ว เพื่อการใช้งานโดยหน่วยงานเพื่อปรับให้เข้ากับข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่แล้ว ด้วยวิธีการนี้จะเป็นการทำให้นักพัฒนาระดับพลเมืองทั่วไปจะทำการสร้างแอพพลิเคชั่นขึ้นมาโดยไม่ต้องอาศัยนักพัฒนาตามแบบแผนดั้งเดิม หรือตามขั้นตอนวงจรการพัฒนาแอพพลิเคชั่น ในบทความที่แปลมานี้ เขาได้นำเราไปสำรวจว่า Low-code/no-code แพลตฟอร์มต่างๆ นั้น มีข้อดีข้อเสียอย่างไร ซึ่งแต่ละแพลตฟอร์ม ก็มีออพชั่นต่างๆ ให้เลือกใช้แตกต่างกันไป What Are Low-Code/No-Code Development Platforms? แล้วพวกแพลตฟอร์ม Low-code/no-code เหล่านี้คืออะไรกันแน่ ? บรรดาความสามารถต่างๆ ของ Low-code/no-code เหล่านี้ได้ถูกปลดปล่อยออกมาอย่างกว้างขวางโดยบริษัทนักพัฒนาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรายเล็กๆ ที่ต้องการจะตอบโจทย์ความต้องการเฉพาะอย่าง (niches) ไปจนถึงรายใหญ่ๆ ที่ให้บริการกันระดับองค์กร ก็ออกแพลตฟอร์ม Low-code/no-code มาเช่นกัน ผู้เขียนบทความได้ทำการศึกษาและอธิบายถึง Low-code/no-code ที่มีอยู่ใน Microsoft, Google และ Amazon มาก่อนหน้านี้แล้ว […]
No-code development platforms are software design systems that even non-technical people can use to create applications without writing a single line of code12. These platforms provide drag-and-drop tools and graphical user interfaces to expedite the application development process1. They are closely related to low-code development platforms, but unlike low-code platforms, no-code platforms require no code writing at […]
ที่มา : https://www.tech.gov.sg/media/technews/doubling-down-on-cloud-to-deliver-better-government-services Enterprise Architecture สิงค์โปร์กำลังพยายามทุ่มเทขับเคลื่อนคอนเซ็พ “Cloud-first” เพื่อที่จะช่วยให้มีการพัฒนาแอพพลิเคชั่นต่างๆเพื่อให้บริการประชาชนให้มากขึ้น ในปี 2018, รัฐบาลได้ประกาศแผนระยะ 5 ปี เพื่อทำการเคลื่อนย้ายระบบ IT จากระบบ On-premise ไปสู่ระบบ Cloud เพื่อจะช่วยให้สามารถพัฒนาระบบให้บริการและการทำธุรกิจได้ดียิ่งขึ้น. นับตั้งแต่ตอนนั้นมา ก็ได้มีการเคลื่อนย้ายระบบที่ถือว่าสำคัญ “restructed” เข้าไปสู่ระบบ cloud. ในปีนี้ได้มีการลงทุนเพิ่มมากขึ้นกว่า 870 ล้านเหรียญ เพื่อกระตุ้นแผนการดังกล่าว หนึ่งในผลประประโยชน์ของระบบ cloud คือ การที่จะสามารถเชื่อมต่อระบบนิเวศไปยังเครือข่ายพันธมิตร รวมไปถึงผู้ใช้งานและนักพัฒนาเข้ากับหน่วยงานตัวแทนของรัฐบาล การดำเนินการดังกล่าวจะทำให้รัฐบาลสามารถพัฒนาระบบให้บริการแก่ประชาชนได้รวดเร็วยิ่งขึ้น หน่วยงานของรัฐจะสามารถพัฒนาและทดสอบระบบต่างๆ ได้ง่ายและรวดเร็วในแบบ real-time ซึงจะช่วยยกระดับคุณภาพการบริการและความรวดเร็วในการให้บริการต่อธุรกิจต่างๆ ด้วยระบบความปลอดภัย การบริการของรัฐ และการทำงานบนระบบ cloud จะช่วยให้สามารถพัฒนาระบบความปลอดภัยเข้าไปสู่ระบบการพัฒนาทาง IT ด้วยวิธีการนี้จะช่วยให้ธุรกิจก้าวมาสู่ระบบมากขึ้นและเป็นดีต่อระบบการจัดเก็บภาษี จุดเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือการเคลื่อนย้ายจากการพัฒนาในแบบ monolithic ไปสู่ระบบ microservices-การใช้ฟังก์ชั่นความสามารถบริการ แทนทีการให้บริการเพียงจุดเดียว เพื่อเหตุผลในการรองรับการขยายตัว ความคล่องตัวและเสถียรภาพ เมื่อระบบสมบูรณ์เต็มที่ ระบบภาษีจะเชื่อมโยงเข้ากับระบบบัญชีของธุรกิจได้ในทันที […]
ขอบคุณที่มา : https://www.bangkokbiznews.com/tech/gadget/1029836 “สถาบันไอเอ็มซี” สำรวจอุตสาหกรรมดิจิทัลประเทศไทยให้กับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลหรือ ดีป้า (depa) เริ่มจากการสำรวจอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ และขยายมาเป็นอุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ รวมถึงอุตสาหกรรมบริการดิจิทัลที่เป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ “สถาบันไอเอ็มซี” สำรวจอุตสาหกรรมดิจิทัลประเทศไทยให้กับสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลหรือ ดีป้า (depa) ต่อเนื่องมาเป็นเวลาหลายปี เริ่มจากการสำรวจอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ และขยายมาเป็นอุตสาหกรรมฮาร์ดแวร์และอุปกรณ์อัจฉริยะ รวมถึงอุตสาหกรรมบริการดิจิทัลที่เป็นแพลตฟอร์มออนไลน์ต่างๆ ทั้งสั่งซื้อสินค้า ดูหนังฟังเพลง และส่งอาหาร วิธีสำรวจข้อมูลอุตสาหกรรมเหล่านี้ ทีมผู้สำรวจค้นหาข้อมูลรายได้บริษัทต่างๆ ที่จดทะเบียนในหมวดธุรกิจภายใต้อุตสาหกรรมดิจิทัล รวมถึงนำตัวเลขนำเข้าสินค้าอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาคำนวณมูลค่าอุตสาหกรรม รวมถึงสำรวจข้อมูลจำนวนจ้างงานที่อยู่ในระบบประกันสังคมบริษัทต่างๆ เพื่อประมาณการจำนวนบุคลากรในอุตสาหกรรม นอกเหนือจากอุตสาหกรรมทั้งสามที่ทีมไอเอ็มซีได้สำรวจแล้ว ดีป้ายังให้หน่วยงานอื่นสำรวจมูลค่าอุตสาหกรรมดิจิทัลคอนเทนต์ ขณะที่ สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)ได้สำรวจมูลค่าอุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคม ซึ่งหากนำมูลค่าอุตสาหกรรมทั้ง 5 ด้านมารวมกัน จะพบว่า ช่วงปี 2564 อุตสาหกรรมดิจิทัลบ้านเรามีมูลค่าสูงถึง 1.58 ล้านล้านบาท ขยายตัว 14.33% เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา สะท้อนอัตราการเติบโตมาก และอาจสวนทางกับหลายๆ อุตสาหกรรมที่ชะลอตัวในช่วงสองปีที่ผ่านมาเนื่องจากสถานการณ์โควิด ตัวเลขมูลค่าอุตสาหกรรมทำให้เห็นได้ว่า ประเทศไทยมีการใช้ดิจิทัลกันอย่างมากและอุตสาหกรรมโตขึ้นทุกภาคส่วน ทั้งการใช้ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ โทรคมนาคม […]
ขอบคุณที่มา : https://brandinside.asia/digital-industry-thailand-2022/ ล็อกดาวน์พาตลาดฮาร์ดแวร์โต ซอฟต์แวร์คลาวด์ – บิ๊กดาต้า โตต่อเนื่อง บริการด้านดิจิทัลแรงแซงทุกกลุ่ม Views: 17
ที่มา : The Secret Sauce UPDATE: ‘บันได 8 ขั้น’ ดันผู้ประกอบการรุ่นใหม่ให้ ‘โต’ แบบสตาร์ทอัพ . ธุรกิจ SMEs ไทยจำนวนมากกำลังเจอกับความท้าทายท่ามกลางโลกที่เปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าอย่างรวดเร็ว แต่อะไรเป็นสิ่งที่แยกระหว่างธุรกิจที่สำเร็จจากธุรกิจที่แค่อยู่รอดไปในแต่ละวัน? สิ่งนั้นคือความสามารถในการวางแผนอย่างมีกลยุทธ์ แผนที่จะเปลี่ยนให้วิกฤตพลิกกลับมาเป็นโอกาสได้ . ไผท ผดุงถิ่น ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และผู้ร่วมก่อตั้ง บริษัท บิลค์ วัน กรุ๊ป จำกัด เล่าว่าสิ่งที่เขาได้เรียนรู้จากประสบการณ์ในสายธุรกิจสตาร์ทอัพคือการหมกมุ่นหาวิธีที่ผลักดันให้ธุรกิจเติบโต นั่นทำให้ไผทอยากมาแบ่งปันว่าทำไม SMEs ต้องคิดเรื่องนี้ เพราะในโลกยุคดิจิทัลลูกค้าไม่มีคำว่าพอ แต่มีแต่คำว่า ‘more’ ธุรกิจจึงจำเป็นต้องปรับตัวให้ได้ . ไผทแชร์แบบแผนเพื่อเป็นหลักการให้กับองค์กรว่าควรจะทำอะไรก่อน ระหว่างให้ความสำคัญกับการเติบโตหรือมองไปข้างหลังเพื่อเสริมระบบองค์กรให้แข็งแรง เพราะพลังงานในการขับเคลื่อนองค์กรมีสองขั้วเสมอคือ CIEL vs. PIPM ดังนี้ . Creativity อยู่ตรงข้ามกับ Productivity หากเน้นแต่การระดมไอเดีย แต่ไม่มีประสิทธิภาพ ก็คงไม่ก่อให้เกิดการลงมือทำ Innovation อยู่ตรงข้ามกับ Improvement […]
ขอบคุณที่มา : https://www.posttoday.com/business/687928 “ดีป้า” เผยมูลค่าเศรษฐกิจดิจิทัลปี 2566 พุ่ง 9.9 แสนล้านบาท เติบโตจากปี 2565 ที่ 7.7 แสนล้านบาท เหตุจากอุตสาหกรรมเกม-คอนเท็น โต ควบคูการเปิดประเทศ ส่งผลภาคบริการใช้ดิจิทัลเพิ่ม Views: 6
เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า