Blog

เงินดิจิทัล 5.6 แสนล้าน จะพร้อมหมุนเวียนในสมองซิตี้ ?

เงินดิจิทัล 5.6 แสนล้าน จะพร้อมหมุนเวียนในสมองซิตี้ ?

สมองทีดีทีไอ Samong TDTI จะมีกลยุทธ์อย่างไร ในการช่วยเหลือ ทำให้ประชาชนได้ประโยชน์จากเงินดิจิทัลโดยแท้จริง ?? บทความนี้เราจะมาดูรายละเอียดกันใน 2 เรื่อง คือ กลยุทธ์การขับเคลื่อนเงินดิจิทัล 10000 บาท และ การนำไปใช้งานอย่างไร ไม่ให้เกิดความเสียหายกับเงินทุนของชาติก้อนนี้ เราจะมาเริ่มกันที่ ความคิดของรัฐบาล จากสื่อต่างๆ ด้าน นายกรัฐมนตรี ยังยืนยันว่าจะไม่ททบทวนเรื่องนี้แต่จะเดินหน้าดำเนินการตามลำดับและจะเริ่มการแจกภายในต้นปี 2567 นี้ จะเห็นได้ว่า ความเป็นไปได้ ของโครงการนี้เป็นไปได้สูงมาก เราจะมาดูกันทางด้าน การนำเงินดิจิทัลไปใช้ สมองทีดีทีไอ ในฐานะคนที่คร่ำหวอดกับ กระแสดิจิทัล ก็มีมุมมองที่เป็นข้อกังวลว่า จะมีรูปแบบการขับเคลื่อนอย่างไร หน้าตาของแพลตฟอร์มที่มารองรับจะเป็นอย่างไร จะมีผลประโยชน์ และค่าดำเนินการในการหมุนเวียนอย่างไร การใช้เงินดิจิทัลในแต่ละระดับชั้น จะมีรูปแบบต่างกัน เช่น เอาไปแลกสิ่งของที่จำเป็นต้องใช้ของผู้ให้บริการต่างๆ บ้างก็จะมีความกงวลว่า มูลค่าของมันในวันถัดไปจะมีมูลค่าลดลงหรือไม่ สำหรับคนที่เป็นนักลงทุน ก็เริ่มที่จะคิดแล้วว่า จะเอาเงินไปลงทุนต่ออย่างไร กับใครที่ไหน ด้านกระดานเทรดต่างๆ ก็คงจะนั่งน้ำลายไหลกับการรับส่วนแบ่งจากการซื้อขายเงินนี้ มูลค่าก็หายไป เข้ากระเป๋ากระดานเทรด คำถามน่าสนใจ เราจะมีแพลตฟอร์ม ให้ประชาชน […]

Continue Reading

โครงการพิมพ์เงินดิจิทัล 5.6 แสนล้าน

โครงการพิมพ์เงินดิจิทัล 5.6 แสนล้าน

จากกระแสการผันเงินช่วยเหลือประชาชน 56 ล้านคน ที่มีอายุมากกว่า 16 ปี คำถามคือ มันมีอะไร ? และจะเกิดอะไรขึ้น ? เราจะมาวิเคราะห์ทางด้านเทคนิคและผลกระทบทางด้านดิจิทัลกันครับ ที่มาและที่ไป ที่มาของแหล่งทุน. และที่ไปของการใช้เงิน หากรัฐบาลจะใช้เงินจากเงิน “พก” ถุงเงินสภาพคล่องของตนเอง ผลกระทบก็จะเกิด กระแสสภาพคล่องหดชั่วคราว และเงินจะสูญหายไปกับค่าดำเนินการจำนวนนึง แต่หากรัฐบาลจะใช้เงินกู้จากแบงค์ ก็เป็นการสมรู้ร่วมคิดแบบ Win-win คือ แบงค์ได้ดอกเบี้ย ประชาชนได้เงิน นายกฯ ได้หน้า กันไป เบื้องลึกก็น่าจะมีอะไรมากกว่านั้น คนมีฐานะหน่อยก็ไม่ได้ตื่นเต้นอะไร แต่สำหรับชาวบ้านทั่วไปก็จะดีใจได้คลายเดือดร้อนตามแบบฉบับของตัวเองกันไป เงินจะไหลกลับและหมุนหลายเด้ง ก่อนจะไปนอนสงบนิ่งอยู่ในบัญชี “คนมีของ” แต่ความบันเทิงมันอยู่ที่ตรงนี้ครับ คือ จะเป็นการสร้างปริมาณเงินในระบบดิจิทัลให้เติบโตทันที เป็นแสนล้านภายใน 1-2 เดือน มากกว่าเงินดิจิทัลใดๆ ในประเทศนี้ แล้วงัยต่อ ประโยชน์ก็จะไหลไปในระบบธุรกิจที่มีการซื้อขายด้วยเงินดิจิทัลได้ คนที่มี “ธุระกรรมและวาทะกรรมดิจิทัล” จะเกิดกระแสการซื้อขายปลดความเดือดร้อนประชาชนไปค่าหนึ่งและแปลงเป็นเงินในกระเป๋าดิจิทัลของคนอีกจำนวนหนึ่ง แพลตฟอร์มเงินดิจิทัลจะกระเตื้องขึ้นทันที มีคนได้ประโยชน์ วงการ Tech ได้ประโยชน์ วงการอสังหา […]

Continue Reading

สติของฉัน Mindfulness-My Consciousness

สติของฉัน Mindfulness-My Consciousness

ธรรมะ ธรรมชาติ สายทาง สายธาร สายกลาง แห่งชีวิต สติของฉัน คือ แนวทางการออกแบบ ดิจิทัลแพลตฟอร์ม สำหรับ ทุกคน ทุกชีวิต ที่ต้อง ใช้ชีวิตอยู่ประกอบการงาน ดูแลทุกคนในครอบครัว ให้มีสุข สติของฉัน จึงเป็นเครื่องมือคู่กาย คู่ใจของท่าน แล้วแต่ที่ท่านจะไหว้วาน สติของฉัน จึงกว้างไกลไพศาล อ่อนโยน และเป็นธรรม ใช้ดี ได้ดี Views: 19

Continue Reading

Low code แล้วต้อง Low cost ด้วย Software Engineering Best Practice

Low code แล้วต้อง Low cost ด้วย Software Engineering Best Practice

เราได้กล่าวถึง Low code กันมาหลายตอนแล้วครับ จะเห็นว่าทุกคลิป ทุก แพลตฟอร์มล้วนแล้วแต่จะต้องพูดถึงเรื่องต้นทุน ดังนั้น Software tools และแพลตฟอร์มที่ดีจะต้องถูกพัฒนาด้วย วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ที่ถูกต้อง ผู้สร้างเข้าใจถึงจุดสำคัญหลายๆ ประเด็นด้วยกัน เรามาเริ่มกันเลยครับ โดย โพสต์นี้ ได้เรียบเรียงมาจาก : https://www.javatpoint.com/software-engineering-software-maintenance-cost-factors ปัจจับสำคัญในการบำรุงรักษา Software Non-Technical Factors Application Domain หรือ การนำแอพพลิเคชั่นนั้นไปใช้งานอย่างไร Staff Stability การเข้าๆ ออกๆ ของทีมงาน Software Lifetime หรือ อายุการใช้งาน โปรแกรมจะล้าสมัยเมื่อโปรแกรมล้าสมัยหรือฮาร์ดแวร์เดิมถูกเปลี่ยน และค่าใช้จ่ายในการแปลงเกินกว่าค่าใช้จ่ายในการเขียนใหม่ Dependence on External Environment หรือ การพึ่งพาสภาพแวดล้อมภายนอก Hardware Stability หรือ ความมั่นคง ความเสถียรของฮาร์ดแวร์ Techinical factors ปัจจัยทางด้านเทคนิค Module […]

Continue Reading

Pain Point สำคัญจนมาถึง Low code

Pain Point สำคัญจนมาถึง Low code

เราชวนท่านมาศึกษา Low-code กันมาหลายตอนแล้วนะครับ และมาถึงคลิปนี้ที่ใ้ภาพได้ชัดเจนทีเดียวว่า Low code มีความเป็นมาอย่างไร รวมทั้งข้อดีข้อเสียของมันคืออะไร และจะเลือกใช้ Low code ในสถานการณ์ไหนดี ลองติดตามชมกันครับ แล้วค่อยไปลองดูตารางสรุปจากคลิปนี้กันอีกครั้ง ขอขอบคุณเจ้าของคลิป รายกร The Secret Sauce ครับ เรามาสรุปกันนะครับว่า มีจุดสำคัญตรงไหนกันบ้าง สรุป ผมสรุปไว้เพียงบางส่วนนะครับ อยากให้ท่านได้อรรถรส จากคลิปให้มากที่สุดครับ ขอบคุณครับ Views: 21

Continue Reading

ตามติด Low-Code/No-code กันอีกตอน

ตามติด Low-Code/No-code กันอีกตอน

ด้วยในอนาคตอันใกล้ ที่เราคงจะได้มีโอกาสไปนำเสนอไอเดียกับผลงานของเรา ก็จะมีข้อสงสัยว่า งานของเราเป็นงานนวัตกรรมมประเภทไหน เป็น แบบธรรมดา เป็น Low-code(LC) หรือ no-code(NC) และ iSTEE มันจะพอเทียบได้กับ LC/NC ในตลาดอย่างไรบ้าง ผมเลยต้องขออนุญาตทำการเปรียบเทียบ iSTEE Framework (OOPs : Object Pascal) กับ OutSystems , Mendix และ Bubble ที่ผมหาเวลาไปลองอ่านและดูจาก Youtube หลายวันเหมือนกันจะได้ทำความเข้าแบบเจาะลึก ช่วยท่านผู้อ่านได้อ่านได้ลึกซึ้ง โดยจะวิเคราะห์ทางด้าน ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักเพื่อนเราก่อนคือ OutSystems ตามลำดับ หัวข้อการสนทนา รายละเอียด ผู้พัฒนา Outsystems , ปี 2544 เมืองลิสลอน โปรตุเกส ขยับขึ้นมาเป็น Unicorn ในปี 2561 ประเทศที่มีตัวแทนขาย อเมริกา โปรตุเกส และทุก ๆ ทวีป […]

Continue Reading

รวมสถาบันหน่วยงาน-ผลงาน  “ดิจิทัล” ทั่วไทย

รวมสถาบันหน่วยงาน-ผลงาน “ดิจิทัล” ทั่วไทย

เนื่องในการเปิดเวบไซต์ของเรา เป็นกิจกรรมเกี่ยวกับเรื่อง ดิจิทัล จึงควรที่จะได้รู้จักสถาบันรุ่นพี่ ทั้งหลาย วันนี้จะลองมารวบรวมรายชื่อ ปีเกิด และผลงานของรุ่นพี่เพื่อการอ้างอิงกันบ้างเล็กน้อย (แต่ยังไม่เรียบร้อยดีนะครับ) หน่วยงานภาครัฐ ลำดับ ชื่อหน่วยงาน(ชื่อย่อ) ปีที่ก่อตั้ง วัตถุประสงค์ ผลงานโดดเด่น 1 กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม MDES 2 สำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) สพร. หรือ DGA 14 พฤษภาคม 2561 จะทำหน้าที่เป็น “Smart Connector” ที่พร้อมส่งเสริมสนับสนุนทุกหน่วยงานในการร่วมคิด ร่วมสร้างสรรค์ และเชื่อมต่อภาครัฐกับประชาชน ให้ประชาชนเข้าถึงบริการได้ง่าย ทั่วถึง สะดวก โปร่งใส ลดความเหลื่อมล้ำ ด้านภาคธุรกิจก็สามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างรวดเร็ว พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2561 และ พระราชบัญญัติการบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 3 สภาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งประเทศไทย 4 สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (สพธอ.) 5 กองพัฒนาดิจิทัลอุตสาหกรรม 6 ศูนย์เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลภาครัฐ (DGTi) […]

Continue Reading

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งมด
Manage Consent Preferences
  • Always Active

บันทึก